คุณยังไม่มีสินค้าในรถเข็น
สยามประเทศไทย ได้ดินแดน เสียดินแดนกับลาวและกัมพูชา
ชาญวิทย์ เกษตรศิริ
สถานะของสินค้า : สินค้าพร้อมส่ง
ราคาปกติ: 350 บาท
Special Price 315 บาท
ลด 35.00 บาท (10%)
อาจกล่าวได้ว่า “ลัทธิชาตินิยม” และ/หรือข้ออ้าง “ความรักชาติ” เวอร์ชันล่าสุดนั้น เป็น “ลัทธิชาตินิยมพันทาง” ซึ่งเป็น “ลูกผสม” ของ “ราชาชาตินิยม” กับ “อำมาตยาชาตินิยม” ที่ถูกสร้างและปลุกระดมขึ้นมาตั้งแต่กลางปี พ.ศ. 2551 เพื่อใช้เป็นอาวุธทางการเมืองพร้อมๆ กับ “การเปลี่ยนตลาดการค้าเป็นสนามรบ” สร้างความเสียหายให้แก่ชีวิตและทรัพทย์สินนั้น
เราในฐานะกลุ่มนักวิชาการที่มีความเห็นแตกต่างจากนักการเมือง (ในและนอกเครื่องแบบ) / นักวิชาการ/ครู/อาจารย์/นักคิด/นักเขียน/นักสื่อมวลชน “กระแสหลัก”/นัก นสพ./คอลัมนิสต์/ผู้อ่านข่าว เราเชื่อว่าหากเราจะหยั่งรู้ไปจนถึง “ต้นตอ” ตลอดจน “ข้อมูล” ทั้งทางด้านประวัติศาสตร์ ทั้งภูมิศาสตร์ และแผนที่ต่างๆก็น่าจะช่วยให้เราเกิดความเข้าใจใน “ตัวตน” ของเราและที่สำคัญคือความเข้าใจต่อ “สังคม” และ/หรือ “ประเทศชาติ” โดยรวมได้ดียิ่งขึ้น และนี่ก็เป็นที่มาของหนังสือเล่มนี้ที่เป็นเสมือน “ประวัติศาสตร์นอกตำรา” ที่เราต้องการเสนอเพื่อแก้ไข “ประวัติศาสตร์กระแสหลัก” รวมทั้ง “อคติ-มายาคติ” ตลอดจน “ลัทธิชาตินิยม-ความรักชาติ” ที่ “คับแคบ” และเป็น “ลบ”
เราเชื่อว่า “แสงสว่าง เสมอด้วยปัญญา ไม่มี” นตฺถิ ปญฺญาสมา อาภา
ข้อมูลหนังสือ
สยามประเทศไทย ได้ดินแดน เสียดินแดนกับลาวและกัมพูชา
ISBN : 9786167202402
แปลจากหนังสือ :
ผู้เขียน : ชาญวิทย์ เกษตรศิริ
ผู้แปล : -
สำนักพิมพ์ : มูลนิธิโครงการตำราสังคมศาสตร์
จำนวนหน้า : 316
ปีที่พิมพ์ : 2556
อาจกล่าวได้ว่า “ลัทธิชาตินิยม” และ/หรือข้ออ้าง “ความรักชาติ” เวอร์ชันล่าสุดนั้น เป็น “ลัทธิชาตินิยมพันทาง” ซึ่งเป็น “ลูกผสม” ของ “ราชาชาตินิยม” กับ “อำมาตยาชาตินิยม” ที่ถูกสร้างและปลุกระดมขึ้นมาตั้งแต่กลางปี พ.ศ. 2551 เพื่อใช้เป็นอาวุธทางการเมืองพร้อมๆ กับ “การเปลี่ยนตลาดการค้าเป็นสนามรบ” สร้างความเสียหายให้แก่ชีวิตและทรัพทย์สินนั้น
เราในฐานะกลุ่มนักวิชาการที่มีความเห็นแตกต่างจากนักการเมือง (ในและนอกเครื่องแบบ) / นักวิชาการ/ครู/อาจารย์/นักคิด/นักเขียน/นักสื่อมวลชน “กระแสหลัก”/นัก นสพ./คอลัมนิสต์/ผู้อ่านข่าว เราเชื่อว่าหากเราจะหยั่งรู้ไปจนถึง “ต้นตอ” ตลอดจน “ข้อมูล” ทั้งทางด้านประวัติศาสตร์ ทั้งภูมิศาสตร์ และแผนที่ต่างๆก็น่าจะช่วยให้เราเกิดความเข้าใจใน “ตัวตน” ของเราและที่สำคัญคือความเข้าใจต่อ “สังคม” และ/หรือ “ประเทศชาติ” โดยรวมได้ดียิ่งขึ้น และนี่ก็เป็นที่มาของหนังสือเล่มนี้ที่เป็นเสมือน “ประวัติศาสตร์นอกตำรา” ที่เราต้องการเสนอเพื่อแก้ไข “ประวัติศาสตร์กระแสหลัก” รวมทั้ง “อคติ-มายาคติ” ตลอดจน “ลัทธิชาตินิยม-ความรักชาติ” ที่ “คับแคบ” และเป็น “ลบ”
เราเชื่อว่า “แสงสว่าง เสมอด้วยปัญญา ไม่มี” นตฺถิ ปญฺญาสมา อาภา
สารบัญ
- - ภูมิกายาและประวัติศาสตร์
- - “เสียดินแดน” เป็นประวัติศาสตร์ หลอกไพร่ไปตายแทน (เพราะ “ไทย” ไม่เคยเสียดินแดน)
- - เข้าใจผิดว่า รัฐสมัยเก่า (ก่อนศตวรรษที่ 20) ถือการครอบครองดินแดนเป็นเรื่องใหญ่
- - เข้าใจผิดว่า เมืองขึ้น เป็นส่วนหนึ่งของอธิปไตยของเจ้าพ่อรัฐใหญ่
- - เข้าใจผิดว่า เมืองขึ้นหรือประเทศราชหนึ่งย่อมขึ้นต่อเจ้าพ่อรายใหญ่เพียงรายเดียว เมืองขึ้นของสยามย่อมขึ้นต่อสยามเท่านั้น ดังนั้นดินแดนประเทศย่อมเป็นของประเทศสยามแต่ผู้เดียว
- - เข้าใจผิดว่า ดินแดนของรัฐสมัยเก่า กำหนดชัดเจน แน่นอนว่าตรงไหนของใคร จึงสามารถพูดได้ว่าไทยเสียดินแดนไปกี่ครั้ง กี่ตารางกิโลเมตร
- - วาทกรรมเสียดินแดน
- ฯลฯ