Kledthai.com

ตะกร้า 0

นวกานุศาสนี

ISBN: 9789742602802

ผู้แต่ง : พระธรรมเจดีย์ (กี มารชิโน ป.ธ. ๙)

ผู้แปล : -

สำนักพิมพ์ : ศูนย์ไทยธิเบต

ปีที่พิมพ์ : 2558

จำนวนหน้า : 228

พร้อมส่ง
ISBN:
9789742602802
ราคาพิเศษ ฿198.00 ราคาปรกติ ฿220.00

หนังสือนวกานุศษสนีนี้ ข้าพเจ้าเรียบเรียงขึ้น เพื่ออัดสำเนาส่งไปให้พระนวกะที่ได้ไปเป็นอุปัชฌาย์ไว้ต่างวัด ได้อ่านเป็นบทความประจำสัปดาห์ในภายในพรรษาขณะที่มาบวชอยู่เป็นการเสริมความรู้ธรรมในทางพระพุทธศาสนาตามสมควร ด้วยเหตุว่า ไม่มีโอกาสที่จะสั่งสอนอบรมได้ด้วยตนเอง เหมือนพระใหม่ที่บวชอยู่ที่วัดทองนพคุณ

ได้ทราบว่าพระใหม่ตามวัดต่างๆ ในชนบท ไม่ใคร่ได้รับการศึกษาอบรมทางธรรมวินัยดีนัก บางแห่งก็ถูกบวชปล่อยให้อยู่ตามยถากรรม เพราะไม่มีการเรียนการสั่งสอนอบรมกัน ในวัดเช่นนี้ ถ้าใช้หนังสือนี้อ่านให้พระใหม่ฟังวันละหน้าสองหน้าหลังจากทำวัตรเช้าเย็นแล้ว ก็จะช่วยให้พระใหม่ได้ความรู้ธรรมขึ้นบ้าง ดีกว่าจะให้อยู่ในสภาพเช่นนั้น และพระอุปัชฌาย์ก็จะไม่ถูกติว่า เป็นแต่อุปัชฌาย์เต่า คือ ไข่ทิ้ง ไม่เป็นอุปัชฌาย์ไก่ ที่เลี้ยงลูกของตัว ผู้ที่บวชเข้ามาแล้วอยู่ไปครบพรรษาก็สึก ไม่ได้ความรู้ความเข้าใจในศาสนาเป็นชิ้นเป็นอัน ไม่สมแก่ที่ลงทุนบวช ต้องหมดเปลือง บางรายไม่น้อย แม้จะบวชเป็นสมมติสงฆ์ หากตั้งใจดี ทั้งมีการศึกษาอบรมดี จะเป็นทางให้ปฏิบัติดี ช่วยค้ำจุนพระพุทธศาสนาไว้ได้มาก ไม่ใช่บวชมาทำลายพระศาสนา

หนังสือนวกานุศษสนีนี้ ข้าพเจ้าเรียบเรียงขึ้น เพื่ออัดสำเนาส่งไปให้พระนวกะที่ได้ไปเป็นอุปัชฌาย์ไว้ต่างวัด ได้อ่านเป็นบทความประจำสัปดาห์ในภายในพรรษาขณะที่มาบวชอยู่เป็นการเสริมความรู้ธรรมในทางพระพุทธศาสนาตามสมควร ด้วยเหตุว่า ไม่มีโอกาสที่จะสั่งสอนอบรมได้ด้วยตนเอง เหมือนพระใหม่ที่บวชอยู่ที่วัดทองนพคุณ

ได้ทราบว่าพระใหม่ตามวัดต่างๆ ในชนบท ไม่ใคร่ได้รับการศึกษาอบรมทางธรรมวินัยดีนัก บางแห่งก็ถูกบวชปล่อยให้อยู่ตามยถากรรม เพราะไม่มีการเรียนการสั่งสอนอบรมกัน ในวัดเช่นนี้ ถ้าใช้หนังสือนี้อ่านให้พระใหม่ฟังวันละหน้าสองหน้าหลังจากทำวัตรเช้าเย็นแล้ว ก็จะช่วยให้พระใหม่ได้ความรู้ธรรมขึ้นบ้าง ดีกว่าจะให้อยู่ในสภาพเช่นนั้น และพระอุปัชฌาย์ก็จะไม่ถูกติว่า เป็นแต่อุปัชฌาย์เต่า คือ ไข่ทิ้ง ไม่เป็นอุปัชฌาย์ไก่ ที่เลี้ยงลูกของตัว ผู้ที่บวชเข้ามาแล้วอยู่ไปครบพรรษาก็สึก ไม่ได้ความรู้ความเข้าใจในศาสนาเป็นชิ้นเป็นอัน ไม่สมแก่ที่ลงทุนบวช ต้องหมดเปลือง บางรายไม่น้อย แม้จะบวชเป็นสมมติสงฆ์ หากตั้งใจดี ทั้งมีการศึกษาอบรมดี จะเป็นทางให้ปฏิบัติดี ช่วยค้ำจุนพระพุทธศาสนาไว้ได้มาก ไม่ใช่บวชมาทำลายพระศาสนา

สารบัญ

 

นวกานุศาสนี

 

วิธีอุปสมบท ๘ ประเภท

 

-                   เอหิภิกขุอุปสัมปทา

-                   ติสรณคมนูปสัมปทา

-                   โอวาทปฏิคคหณูปสัมปทา

-                   ปัญหาพยากรณูปสัมปทา

-                   อัฏฐครุธัมมปฏิคคหณูปสัมปทา

-                   ทูเตน อุปสัมปทา

-                   อัฏฐวาจิกากัมมวาจาอุปสัมปทา

-                   ญัตติจตุตถกัมมวาจาอุปสัมปทา

-                    

ข้อปฏิบัติของกุลบุตรผู้ประสงค์จะบวช

 

การบวชแบบมหานิกายเดิม (อุกาสะ)

 

การบวชแบบมหานิกายแปลง (เอสาหัง)

 

บทความที่ ๑

 

-                   นักบวช ๔ จำพวก

-                   เรื่องการทำวัตร

-                   การอ่านภาษาบาลี

-                   เรื่องการประเคน

-                   เรื่องการปลงอาบัติ

-                    

บทควาทที่ ๒

 

-                   เรื่องการปลงอาบัติ (ต่อ)

-                   ธรรมที่ส่งเสริมการปฏิบัติพระวินัย

-                   ปาริสุทธิศีล ๔

-                   เรื่องอรุณ

-                   เรื่องการพินทุอธิษฐาน

-                   เรื่องอภิณหปัจจเวกขณ์

-                    

บทความที่ ๓

 

-                   เรื่องอภิณหปัจจเวกขณ์ (ต่อ)

-                   บทพิจารณาเมื่อใช้สอยปัจจัย

-                   นิสสัย ๔

-                    

บทความที่ ๔

 

-                   เรื่องอภิณหปัจจเวกขณ์ (ต่อ)

-                   เรื่องการศึกษา

-                   คำบูชาพระรัตนตรัย

-                   เรื่องทำวัตรเช้า

-                    

บทความที่ ๕

 

-                   องค์คุณของการบำเพ็ญเพียรทางจิต

-                   อาการของจิต

-                   ทำวัตรเย็น

-                   ไตรสิกขา : ศีล

-                   ศีล ๔ ประเภท

-                   ปาฎิโมกขสังวรศีล

-                   อินทรียสังวรศีล

-                    

บทความที่ ๖

 

-                   อาชีวปาริสุทธิศีล

-                   ปัจจยสันนิสิตศีล

-                   ไตรสิกขา : สมาธิ

-                   สมาธิ ๓ ชั้น

-                   พุทธานุสสติกรรมฐาน

-                   พุทธกิจ ๕

-                   อานาปานสติ

-                    

บทความที่ ๗

 

-                   นิมิต ๓ อย่าง

-                   คาถากาสัก

-                   ธุระ ๒ อย่าง

-                   ไตรสิกขา : ปัญญา

-                   ไตรลักษณ์

-                   ขันธ์ ๕

-                    

บทความที่ ๘

 

-                   ไตรลักษณ์ (ต่อ)

-                   อริยสัจ ๔

-                   ทุกข์

-                    

บทความที่ ๙

 

-                   สมุทัย

-                   นิโรธ

-                   มรรค

-                   สัปปุริสธรรม ๗

-                   ธัมมัญญุตา ความเป็นผู้รู้จักเหตุ

-                   อัตถัญญุตา ความเป็นผู้รู้จักผล

-                   อัตตัญญุตา ความเป็นผู้รู้จักตน

-                    

ฯลฯ

เขียนรีวิวสินค้าของคุณเอง
คุณกำลังรีวิว:นวกานุศาสนี
คะแนนของคุณ